Manufacturing

Atlanta Market: ศูนย์ขายส่งสินค้าประเภทของตกแต่งบ้านที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกา

สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศผู้นำทางด้านการค้าที่มีการจัดงานแสดงสินค้าเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจอยู่แทบตลอดทั้งปี ซึ่งหนึ่งในตลาดงานแสดงสินค้าที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกาและสามารถกล่าวได้ว่าใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลกนั้นได้แก่ Atlanta Market วันนี้เราจะนำทุกคนไปรู้จัก Atlanta Market ให้มากขึ้นด้วย 4 หัวข้อหลัก What-Where-When-Who What is Atlanta Market? – Atlanta Market คืออะไร Atlanta Market หรือ AmericasMart… Read More »Atlanta Market: ศูนย์ขายส่งสินค้าประเภทของตกแต่งบ้านที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกา

Ramekin หรือ แรเมกิ้น คืออะไรและใช้สำหรับอะไร (What is Ramekin?)

  • by

Ramekin เป็นศัพท์ที่นักอบขนมต้องคุ้นเคยกันเป็นอย่างมาก เพราะว่า Ramekin หรือ แรเมกิ้น เป็นชื่อเรียกภาชนะเล็ก ๆ ที่ใช้สำหรับอบขนมต่าง ๆ สามารถนำเข้าเตาอบได้โดยตรง หรือ จะใช้งานในรูปแบบอื่นอย่างการใส่ขนมขนาดเล็กเพื่อทาน ความหมายของ Ramekin ทางเราได้ยกความหมายของ RameKin มาจากเว็บไซต์ enghero.com ที่ได้ให้ความหมายไว้ 2 รูปแบบ กล่าวคือ 1.ภาชนะขนาดเล็กที่ใช้เข้าเตาอบ และ… Read More »Ramekin หรือ แรเมกิ้น คืออะไรและใช้สำหรับอะไร (What is Ramekin?)

Opacifier

  • by

Opacifier ในงานเซรามิกนั้นคือสารเคมีที่ทำให้เกิดความทึบแสงของผิวเคลือบเซรามิก โดยเราจะทำการเติมสารเคมีชนิดนี้ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้เกินผลเสียต่อชิ้นงาน เนื่องจากเคลือบที่เราซื้อมานั้นจะเป็นเคลือบใส(ไม่มีสี) ดังรูป สาร Opacifier ที่เราใช้บ่อยๆ ในสตูดิโอจะมี ทัลคัม, สเตนสีต่างๆ เป็นต้น โดยในส่วนสตูดิโอเซรามิกของเรานั้นจะใช้สารเคมีเหล่านี้ในส่วนผสมเป็นหลัก ซึ่งจะมีการเติมทัลคัมและสเตนสีต่างๆลงไปในเคลือบเมื่อเราต้องการให้เคลือบของเราเกิดความทึบแสง และเกิดสีต่างๆ

การเคลือบด้วยมือบนเซรามิกคืออะไร,เทคนิคคืออะไร

What is hand-painting glaze on ceramics – what are techniques “การเคลือบด้วยมือบนเซรามิกคืออะไร” การเคลือบเซรามิคด้วยมือ คือ การใช้มือ จุ่มลงไปในเคลือบ ไม่ว่าจะเป็นเคลือบใส เคลือบด้าน อื่นๆ แทนการใช้เครื่องมือ ที่คีบที่ใช้จุ่ม เป็นวิธีการเคลือบงานชนิดหนึ่งมีที่สมัยก่อน มีการอย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป็นวิธีการเคลือบชนิดแรกๆที่ใช้ เพราะยังไม่ได้มีการคิดค้นประดิษฐ์. เครื่องมือจุ่ม… Read More »การเคลือบด้วยมือบนเซรามิกคืออะไร,เทคนิคคืออะไร

What is “Glaze Crawling”

“การรวบรวมข้อมูลปัญหาเคลือบ Crawling ” คืออะไร ? ก่อนที่เราจะมารู้จักกับปัญหาเคลือบ Crawling ว่าคืออะไร มีที่มา ลักษณะของชิ้นงาน ที่เกิดปัญหามีลักษณะแบบไหน วิธีการป้องการปัญหา สามารถทำยังไงได้บ้าง ซึ่งข้อมูลจะมีเชื่อมโยงกับ Using tiles to test glaze วิธีการใช้กระเบื้องเพื่อทดสอบการเคลือบ. “ขั้นตอนการ ทดสอบดินใหม่สำหรับผสม น้ำดิน” ขั้นตอนการทดสอบนี้ส่วนมากจะใช้กับการที่ต้องผสมดินชนิดใหม่ที่ผสมขึ้นเอง หรือทดสอบดินที่ใช้สำเร็จรูปที่ได้มา… Read More »What is “Glaze Crawling”

วิธีการใช้กระเบื้องเพื่อทดสอบการเคลือบ

วิธีการทดสอบเคลือบโดยใช้กระเบื้อง กระเบื้องที่เราสร้างขึ้นเพื่อทดสอบนั้นมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับการออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้ทดสอบเรื่องอะไรบ้าง เช่น กระเบื้องสำหรับทดสอบการหดตัวของดินหลังเผาบิสกิต , สำหรับทดสอบการหดตัวของดินหลังเผาเคลือบ , สำหรับทดสอบค่า COE สัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความร้อน (Thermal expansion coefficient- COE) วิธีการทำกระเบื้องสำหรับทดสอบอย่างง่าย เริ่มจะการทำชิ้นกระเบื้องสำหรับทดสอบโดยการหล่อเป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาตัดตามขนาดที่ต้องการจะทดสอบ จากรูปจะทำการตัดเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมพื้นผ้า ยาว15 เซนติเมตร กว้าง 3 เซนติเมตร แล้วทำมาร์คจุดทดสอบให้มีระยะห่างกัน… Read More »วิธีการใช้กระเบื้องเพื่อทดสอบการเคลือบ

Using Mold Tops to control thickness

สำหรับการกำหนดความหนาในการหล่อน้ำดินนั้นจะทำได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลกับความหนาของชิ้นงาน เช่นเวลาที่ใช้ในการหล่อ สภาพอากาศในการหล่อ ค่าความชื้นในโมลที่ใช้ เป็นต้น ซื่งปัจจัยเหล่านี้เราไม่สามารถควบคุมได้ 100% เราจึงต้องมีการคิดค้นวิธีควบคุมความหนาของชิ้นงานให้สม่ำเสมอ โดยใช้ฝาปิดโมลดังรูป การใช้ฝาปิดโมลนั้น จะเป็นเหมือนการบังคับน้ำดินให้มีขนาดอยู่ในระดับของฝาปิดโมล ซึ่งจะช่วยทำให้ชิ้นงานที่ออกมามีขนาดความหนาของขอบชิ้นงานสม่ำเสมอกันมากขึ้น จากการทดลองทำฝาปิดโมลสำหรับหล่อน้ำดิน พบว่าเมื่อทำการผลิตชิ้นงานมาจำนวนหนึ่ง เทียบกับชิ้นงานที่ไม่มีฝาปิดโมล จะสังเกตุได้ว่าชิ้นงานที่มีฝาปิดโมลนั้นจะมีขนาดที่ใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากฝาปิดโมลนั้นจะช่วยทำให้ชิ้นงานมีขนาดที่ใกล้เคียงกันมากที่สุดอีกทั้งยังช่วยให้มีขนาดที่สม่ำเสมอกันมากขึ้นเมื่อเทียบกับชิ้นงานที่ไม่มีฝาปิดโมล

Quality Assurance Process

Quality Assurance Process

หลักการภาพรวมของ QA Process หลักการนี้มักถูกใช้ในการสร้างแผนการ QA เกือบจะทุกครั้ง และเป็นหลักการที่ใช้ปรับเปลี่ยนรูปแบบตามการตรวจ QA ของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบที่แตกต่างกันไป ในขั้นตอนบางขั้นจะมีการทำซ้ำเพื่อให้แต่ใจว่ากระบวนการที่ตามในการดำเนินงานจะได้รับการประเมินอย่างถูกต้องและถูกปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา PLAN : องค์กรควรวางแผนและสร้างวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการและการกำหนดกระบวนการที่จะเป็นในการส่งมอบผลิตภัณฑ์จนถึงขั้นสุดท้าย เช่นการคำนึงถึงลักษณะการใช้งานของสินค้าในทุกๆด้านเพื่อกำหนดแผนออกมาอย่างชัดเจนที่สุด DO : การพัฒนาและทดสอบ CHECK : การตรวจสอบประสิทธิภาพของกระบวนการตรวจสอบ ความแม่นยำในการทดสอบ ตรวจสอบว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ ACT : QA… Read More »Quality Assurance Process