Media

Faire เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซรูปแบบค้าส่งที่เชื่อมโยงผู้ขายจากทั่วโลก

  • by

ปัจจุบันมีเว็บไซต์ในลักษณะอีคอมเมิร์ซเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะ Amazon.com eBay.com Alibaba.com Walmart.com Etsy.com ซึ่งมีผู้ขายและผู้ซื้อจำนวนมากอยู่บนระบบเหล่านั้น ซึ่งแต่ละเว็บไซต์จะมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป เช่น ขายสินค้าสำหรับค้าปลีกหรือขายสินค้าสำหรับค้าส่ง แต่ยังมีอีกเว็บไซต์หนึ่งที่น่าสนใจ และมาทำความรู้จักกันในบทความนี้ บทความที่เกี่ยวข้อง: Walmart ธุรกิจค้าปลีกและเป็นแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซที่เติบโตอย่างรวดเร็ว Faire เป็นตลาดค้าส่งออนไลน์ที่เชื่อมโยงผู้ค้าปลีก 500,000 รายกับแบรนด์และช่างฝีมือจากทั่วโลกเพื่อทำการซื้อขาย หรือก็คือแพลตฟอร์มค้าส่งที่ช่วยให้ผู้ค้าปลีกค้นหาและซื้อสินค้าขายส่งที่ไม่ซ้ำใคร The online wholesale marketplace… Read More »Faire เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซรูปแบบค้าส่งที่เชื่อมโยงผู้ขายจากทั่วโลก

3 เว็บไซต์แนวแอนิเมชั่นที่น่าสนใจ

  • by

การออกแบบเว็บไซต์มีการเปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมการออกแบบมากมาย ซึ่งแอนิเมชั่นเป็นเทรนด์การออกแบบใหม่ที่มาแรงในไม่กี่ปีที่ผ่านมา นักออกแบบเว็บไซต์ได้เริ่มใช้แอนิเมชั่นมาร่วมกับการออกแบบเว็บไซต์เพื่อเติมเต็มให้มีชีวิตชีวามากขึ้น เพิ่มประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ สร้างให้ใช้ง่าย และดูน่าตื่นเต้นในารใช้งาน เพราะว่าผู้ใช้สมัยใหม่ต่างสนใจสินค้าและบริการมากขึ้น หากแบรนด์แนะนำลูกค้าในรูปแบบการเล่าเรื่อง ฉะนั้นการเล่าเรื่องแบบภาพเคลื่อนไหวจึงป็นที่นิยมอีกประเภทหนึ่งสำหรับเว็บก็ว่าได้ ภายในบทความนี้จะพูดถึงการนำแอนิเมชั่นมาเข้าร่วมกับการออกแบบหน้าเว็บไซต์และยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่น่าสนใจที่นำแอนิเมชั่นมานำเสนอที่หน้าเว็บ แบ่งแอนิชั่นเป็น 2 แบบ 1.แอนิเมชั่นการ์ตูน เวกเตอร์ต่าง ๆ กานใช้ภาพเคลื่อนไหวที่เป็นแอนิเมชั่นบนหน้าเว็บไซต์ ซึ่งอาจมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเรื่องราวของแบรนด์ สิ่งที่แบรนด์ทำอยู่ให้กับผู้ใช้งาน 2.แอนิเมชั่น การเคลื่อนไหวภายในเว็บไซต์ เป็นการเคลื่อนที่ของเลย์เอาท์ภายในเว็บไซต์ รวมทั้งภาพ ข้อความ หรือกราฟฟิคต่าง… Read More »3 เว็บไซต์แนวแอนิเมชั่นที่น่าสนใจ

type of cuts II

TYPE OF CUTS II : เทคนิคการตัดต่อและถ่ายทำ

จากบทความที่แล้ว TYPE OF CUTS : เทคนิคการตัดต่อและถ่ายทำ ที่เราได้พูดถึงเทคนิคการตัดต่อลักษณะต่างๆ สำหรับในบทความนี้เราจะมาพูดกันต่อว่าประเภทของการตัดต่อ หรือเทคนิคอื่นๆนั้นยังมีแบบใดอยู่อีกบ้าง ในบทความที่แล้วเราได้พูดถึงการตัดแบบ Constrast Cuts ซึ่งนอกไปจากนั้นยังมีอีกหนึ่งเทคนิคลักษณะการตัดต่อที่คล้ายกันและยังมีส่วนคล้ายกับ Match Cuts อีกด้วย นั่นคือการตัดต่อแบบ Parallel Editing Cuts PARALLEL EDITING CUTS การตัดต่อแบบคู่ขนานจะเป็นการตัดต่อที่มีลักษณะการสรา้งทรานซิชั่นที่ไร้รอยต่อระหว่างฉาก โดยเล่นกับวัตถุประกอบฉาก… Read More »TYPE OF CUTS II : เทคนิคการตัดต่อและถ่ายทำ

TYPE OF CUTS

TYPE OF CUTS : เทคนิคการตัดต่อและถ่ายทำ

สำหรับอุตสาหกรรมภาพยนต์นั้น ขั้นตอนการตัดต่อเป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างมีความสำคัญ หนังที่ต้องการเล่าเรื่องทั้งหมดให้ผู้ชมเข้าใจและอินกับเนื้อเรื่องนั้นจำเป็นต้องเล่าให้ออกมาเพียง 2-3 ชั่วโมงในลักษณะของภาพยนต์ ดังนั้นจังหวะการตัดต่อซีนต่างๆนั้นจึงมีส่วนสำคัญ ฉากบางฉากสามารถเพิ่มความน่าสนใจได้เมื่อมาประกบต่อกันหรือบางฉากก็แยกออกจากกันแล้วดูน่าสนใจก็ได้เช่นเดียวกัน ในบทความนี้เราจะพูดกันถึงเรื่องลักษณะการตัดต่อในภาพยนต์ว่าโดยปกติแล้วมีแบบใดบ้าง และมีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นอย่างไร HARD CUT เป็นการตัดต่อในรูปแบบมาตรฐานที่พบเจอบ่อยที่สุด Hard Cut คือการตัดไปอีกฉากหนึ่งโดยทันทีลองดูตัวอย่างจากภาพยนต์ด้านล่าง เป็นเหมือนการเล่าเรื่องจังหวะง่ายๆที่ตัดฉากขี่มอเตอร์ไซค์แล้วฉากจบเป็นฉากการเสียชีวิตของตัวละคร ซึ่งความต่อเนื่องของฉากจะสอดคล้องกัน สื่อให้เห็นความเป็นเหตุและผลของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น CROSS CUT การตัดแบบขวาง Cross Cut เป็นอีกหนึ่งในลักษณะการตัดต่อที่เป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมเช่นเดียวกันกับ Hard… Read More »TYPE OF CUTS : เทคนิคการตัดต่อและถ่ายทำ

Film Scoring?

Film Scoring คืออะไร?

Flim Score คือ เพลงประกอบภาพยนต์ โดยจะถูกแต่งโดยนักแต่งเพลงหรือผู้ผลิตเพลงและมีเนื้อหาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับภาพยนต์เรื่องนั้นๆ โดยเพลงประกอบภาพยนต์นั้นจะช่วยเพิ่มอารมณ์ให้กับผู้ชม โดยสามารถนำไปใช้ได้ทั้งประกอบภาพยนต์ ประกอบโฆษณาหรือประกอบฉากต่างๆ เพลงลักษณะเหล่านี้มีถูกสร้างขึ้นจากนักแต่งเพลง นักเขียนเพลง หรือใช้วงดนตรีในการสร้างสรรค์เพลงขึ้นมาเช่นวง Orchestra ประกอบกับเทคนิคทางด้านซอฟต์แวร์ที่ไว้ใช้ผลิตเพลงในขั้นตอน Sound mix นั้นเอง การสร้างเพลงประกอบภาพยนต์นั้นมักมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลายตำแหน่งดังนี้ 1.The Orchestrator : ผู้เรียบเรียง หรือนักแต่งเพลง ภาพยนต์บางเรื่องมีนักแต่งเพลงโดยเฉพาะ แต่หลายๆเรื่องก็จ้างบุคคลภายนอกในการสร้างสรรค์เพลงขึ้นมา 2.The… Read More »Film Scoring คืออะไร?

รู้จักคำศัพท์ Compositing /Green Screen ที่ใช้ในงาน Animation

  • by

คุณเคยสงสัยกันหรือไม่ ไม่ว่าจะในแอนิเมชั่นหรือภาพยนตร์ทำไมถึงมีฉากที่ยิ่งใหญ่ ไม่ว่าจะพื้นหลังที่ดูอลังการ แรงระเบิดจากอาวุธ ปืน ควัน หรือแม้กระทั่งสภาพอากาศที่เกิดขึ้น ทั้งหมดนี้สามารถเช็ทให้อยู่ในฉากเดียวหรืออาจจะเกิดขึ้นจากหลายเช็ท(ฉาก)และถูกนำมารวมกันภายหลัง การสร้างสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นในฉากให้เกิดขึ้นเป็นอีกหนึ่งหน้าที่ของแผนกที่เรียกว่า Visual Effects Artist (VFX) ที่จะสร้างสรรค์สิ่งมหัสจรรย์เหล่านี้ขึ้นมา ฉะนั้นก่อนจะลงสู่เนื้อหาลึกถึงขั้นการสร้างเอฟเฟคเหล่านั้น อยากให้รู้จักกับคำศัพท์ 2 คำนี้ก่อน ทำความรู้จัก 2 คำศัพท์ (Compositing, Green Screen) Compositing… Read More »รู้จักคำศัพท์ Compositing /Green Screen ที่ใช้ในงาน Animation

Sound editing vs Sound mixing

Sound editing vs Sound mixing

การที่ภาพยนต์สักหนึ่งเรื่องจะเล่าเรื่องและบรรยายเนื้อเรื่องออกมานั้น อาจจะต้องเริ่มต้นด้วยแนวคิดของหนังและตามด้วยบางสคริปต์ หลังจากนั้นใช้ความสามารถของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิตภาพยนต์ทั้งผู้กำกับ นักแสดงและอื่นๆ แต่อีกเครื่องมือในหนังภาพยนต์ที่เป็นองค์ประกอบหลักของหนังที่ขาดไม่ได้เลยคือเสียง ที่จะช่วยเล่าเรื่องราวให้ดีมากยิ่งขึ้น เสียงในที่นี้คือเสียงที่เป็นทั้งเสียงบทสนทนาระหว่างตัวละคร เสียงเอฟเฟค เสียงเพลงประกอบ และเสียงอื่นๆอีกมากมาย การทำงานกับเสียงประกอบภาพยนต์นั้นจำเป็นต้องมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่สูง มันจะช่วยสร้างความรู้สึกให้อินกับหนังมากยิ่งขึ้น ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่ในการกำกับดูแลเรื่องเสียงส่วนใหญ่จะถูกแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ Sound Editing และ Sound Mixing ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงกันว่าสองหน้าที่นี้แตกต่างและมีลักษณะในการทำงานกันอย่างไร การทำเสียงสำหรับผลิตภาพยนต์โดยส่วนใหญ่แล้วนั้นจะเป็นการเพิ่มเสียงภายหลังจากที่ถ่ายทำเกือบทั้งหมด โดยจะแบ่งหน้าที่ออกเป็นสองแบบคือการรวบรวมและสร้างเสียงเหล่านั้นคือ Sound Editing และหน้าที่ในการผสมเสียงคือ Sound… Read More »Sound editing vs Sound mixing

Stages of film making

Stages of film making

การจะเริ่มต้นสร้างภาพยนต์สักหนึ่งเรื่องนั้นมันมีการทำงานและะการดำเนินการที่เกิดขึ้นหลายๆขั้นตอนเช่นเดียวกันกับการทำงานในรูปแบบอื่นๆ ซึ่งเราในฐานะผู้ชมจะสามารถรับรู้ได้ถึงการดำเนินงานสร้างที่ยิ่งใหญ่ได้จากจำนวนตัวเลขงบประมาณและยอดขายของภาพยนต์เรื่องนั้นๆที่เกิดขึ้น รวมถึงเมื่อได้ชมภาพยนต์เรื่องนั้นๆจบไปแล้ว รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนการทำงานทั้งหมดนั้นมักประกอบด้วย 5 ขั้นตอนตั้งแต่ขั้นของกระบวนการเริ่มต้นแนวคิดของภาพยนต์ หาทุน ว่าจ้างนักแสดงและตำแหน่งอื่นๆ ไปจนถึงการถ่ายทำและจัดจำหน่ายในภายหลัง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วการสร้างภาพยนต์จะอยู่ในขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.DEVELOPMENT ขั้นตอนในการพัฒนา โดยขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของการวางแผน และวางแนวคิดหลักของภาพยนต์เป็นส่วนใหญ่ ภาพยนต์บางเรื่องอาจถูกพัฒนามาเป็นรูปแบบของบทหนัง สคริปต์ หรือจากหนังสือ หรืออาจมีภาพยนต์บางประเภทที่เกิดจากเรื่องจริงซึ่งการทำงานในขั้นตอนนี้จะขึ้นอยู่กับประเภทของภาพยนต์เรื่องนั้นๆ เป็นขั้นตอนที่เหมือนกับวางแผนไอเดียให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ผลิตหนัง และนำเสนอ Storyboard ในการถ่ายทำ หากได้รับการอนุมัติหลังจากนั้นผู้กำกับจะเริ่มทำงานร่วมกับผู้เขียนบทเพื่อสร้างโครงร่างของภาพยนต์ทีละขั้นตอน 2.PRE-PRODUCTION ขั้นตอนนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือการจำกัดตัวเลือกที่เกิดขึ้น… Read More »Stages of film making